ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gases)

ก๊าซ
ก๊าซ
การ
ยุค
- อุณหภูมิ
เฉลี่ย ของ โลก จะ เพิ่ม ขึ้น ประมาณ 2 องศา เซลเซี ยล ภาย ใน ปี พ.ศ . 2643 หรือ การ เพิ่ม ขึ้น ของ อุณหภูมิ ใน ระดับ ปาน กลาง โดย อยู่ ใน ช่วง ระหว่าง 1.5 - 3.5 องศา เซลเซี ยล - การ
เปลี่ยน อุณหภูมิ ใน ระดับ ภูมิภาค อาจ จะ แตก ต่าง ไป จาก ค่า เฉลี่ย ของ โลก มาก แต่ ยัง ไม่ สามารถ บ่ง ชี้ ได้ อย่าง แน่ นอน ว่า แตก ต่าง อย่าง ไร - ระดับ
น้ำ ทะเล คาด หมาย ว่า จะ สูง ขึ้น ประมาณ 15 - 95 เซนติเมตร โดย ค่า ประมาณ ปาน กลาง ที่ 50 เซนติเมตร ภาย ใน ปี พ.ศ . 2643 ระดับ น้ำ ทะเล จะ สูง ขึ้น เรื่อย ๆ ถึง แม้ ว่า ภูมิ อากาศ และ อุณหภูมิ โลก จะ ไม่ มี การปลี่ยนแปลง อีก ก็ ตาม - ผล
ต่อ เนื่อง จาก การ เปลี่ยน แปลง อุณหภูมิ โลก และ ปริมาณ น้ำ ฝน คือ คาด ว่า ป่า ไม้ บาง ส่วน (ประมาณ 1 ใน 3 ถึง 1ใน 7 ของ โลก) จะ มี การ เปลี่ยน แปลง ของ พรรณ ไม้ ที่ สำคัญ - ประเทศ
ที่ กำลัง พัฒนา จะ ได้ รับ ผล กระ ทบ จาก การ เปลี่ยน แปลง สภาพ ของ ภูมิ อากาศ มาก กว่า ประเทศ ที่ พัฒนา แล้ว ทั้ง นี้ เนื่อง มา จาก มี ข้อ กำจัด ใน การ ปรับ สภาพ ให้ เข้ากับการ เปลี่ยน แปลง นี้
การ
ปริมาณ
การ
กิจ
- พลัง
งาน
กิจ
1. การ
2. การ
- การ
- การ
กิจ
1. การ
2. การ
3. อุสา
4. การ
5. การ

- การ
เปลี่ยน แปลง การ ใช้ ที่ ดิน และ ป่า ไม้
ปริมาณ
คาร์บอนไดออกไซด์ | ที่ | |
1. พลัง | ||
2. การ | ||
3. การ | ||
4. กระบวน | ||
5. ของ | ||
สรุปการเรียงลำดับปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก
จากกิจกรรมต่าง ๆ ที่ปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงสุด 8 อันดับ โดยพิจารณาจากศักยภาพในการทำให้โลกร้อน
1. การทำลายป่า 82 ล้านตัน (33 เปอร์เซนต์)
2. การทำนาข้าว 38 ล้านตัน (15 เปอร์เซนต์)
3. การผลิตไฟฟ้า 28 ล้านตัน (11 เปอร์เซนต์)
4. การขนส่ง 28 ล้านตัน (28 เปอร์เซนต์)
5. การใช้มวลชีวภาพจากป่าไม้ 20 ล้านตัน (20 เปอร์เซนต์)
6. ปศุสัตว์ 13 ล้านตัน (5 เปอร์เซนต์)
7. อุตสาหกรรมย่อย 13 ล้านตัน (5 เปอร์เซ็นต์)
8. กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม 8 ล้านตัน (4 เปอร็เซนต์)
สำหรับกิจกรรมอื่น ๆ ที่เหลือจะปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมกับ 6.5 เปอร์เซนต์
มาตรการการใช้พลังงานของประเทศไทยเพื่อประหยัดพลังงานและลดก๊าซเรือนกระจก
ประเทศไทยมีแนวโน้มที่จะใช้พลังงานมากขึ้นซึ่งพลังงานเหล่านี้ต้องซื้อจากต่างประเทศถึง 65 เปอร์เซนต์ คิดเป็นเงินประมาณ 2 - 3 แสนล้านบาทต่อปี ซึ่งเท่ากับหรือมากกว่าเงินงบประมาณประจำปีของรัฐบาล ทำให้เกิดผลกระทบต่อดุลการค้าและดุลการบัญชีเดินสะพัดต่าง ๆ นอกจากนี้แล้ว ยังส่งผลให้ต้องมีการขยายสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานต่าง ๆ เช่น ต้องสร้างโรงกลั่นน้ำมัน ท่อส่งน้ำมัน ท่อส่งก๊าซ และโรงไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ซึ่งส่วนมากจะต้องกู้ยืมงบประมาณจากต่างประเทศ ทำให้เกิดภาวะหนี้สินของประเทศ นอกจากนี้ ยังทำให้เกิดปัญหาจึงเน้นที่การประหยัดพลังงาน ซึ่งรัฐบาลได้ดำเนินนโยบายในหลาย ๆ ด้าน เพื่อให้มีการประหยัดพลังงานในประเทศ เช่น มาตรการทางด้านกฎหมาย มาตรการทางด้านภาษี มาตรการทางด้านการเงิน และมาตรการด้านการจัดการใช้ไฟฟ้า เป็นต้น
มาตรการทางด้านกฎหมาย
พ.ร.บ. การอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 มีเจตนารมณ์ที่ส่งเสริมให้เกิดวินัยในการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานและอาคาร โดยใช้มาตรการบังคับควบคู่ไปกับการจูงใจโดย ได้จัดกองทุนพื่อการสนับสนุนทางด้านการเงินแก่ผู้ประสงค์ที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และมีบทลงโทษสำหรับอาคารที่ละเลยที่ไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวง ที่ออกตาม พ.ร.บ. โดยบทบาทของรัฐ คือการสร้าง และการใช้กลไกในการให้การสนับสนุนและส่งเสริมการประหยัดพลังงานของผู้ใช้พลังงาน
มาตรการทางด้านภาษี
โดยลดภาษีนำเข้าอุปกรณ์และเครื่องมือที่ประหยัดพลังงานต่าง ๆ
มาตรการทางด้านการเงิน
แผนงานอนุรักษ์พลังงานและแนวทางให้การสนับสนุนจากกองทุน
1. แผนภาคบังคับ เป็นแผนงานที่เกี่ยวกับการดำเนินงานตามกฎหมาย สำหรับโรงงานและอาคารควบคุมการดำเนินการอนุรักษ์พลังงานในอาคารของรัฐ โรงงานและอาคารทั่วไป ที่มีความประสงค์จะดำเนินการอนุรักษ์พลังงาน เช่นเดียวกับโรงงาน และอาคารควบคุม โดยผู้ที่ได้รับการสนับสนุน จะต้องเป็นโรงงานหรืออาคารควบคุมและอาคารของรัฐ ที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้า ตั้งแต่ 100 กิโลวัตต์ ขึ้นไป หรือเจ้าของโรงงานและอาคารควบคุมทั่วไป ที่มีความสนใจในการอนุรักษ์พลังงาน
2. แผนงานภาคความร่วมมือ เป็นแผนงานที่เกี่ยวกับให้การสนับสนุน และความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของภาครัฐ และภาคเอกชน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในการผลิตด้านเกษตรกรรม และด้านอุตสากรรมในชนบท ให้มีการนำพลังงานหมุนเวียนที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยมาใช้อย่างแพร่หลาย ให้เกิดตลาดของสินค้าและบริการที่ช่วยสนับสนุนการอนุรักษ์พลังงาน รวมทั้งให้มีการนำผลการศึกษาทางด้านเทคโนโลยีพลังงานและการอนุรักษ์พลังงานมาใช้ในโรงงาน อาคาร และครัวเรือน
3. แผนงานสนันสนุน เป็นแผนงานที่เกี่ยวกับการวางแผน กำกับ ดูแล ประเมินผล การเพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากร และการประชาสัมพันธ์ เพื่อให้แผนงานอนุรักษ์พลังงานดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรการด้านการจัดการการใช้ไฟฟ้า
ความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดในประเทศไทย เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2540 จำนวน 14,506 เมกกะวัตต์ ในขณะที่เดือนธันวาคม 2540 ความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดมีเพียง 12,876.6 เมกกะวัตต์
จากภาวะเศรษฐกิจถดถอย ตั้งแต่ปี 2540 และคาดหมายว่าจะต่อเนื่องไปอีก 1 - 2 ปี คณะกรรมการพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้า ได้คาดการณ์ไว้ว่า ในปี 2541 ความต้องการไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบกับความต้องการใช้ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจริง พบว่าน้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้ นับเป็นปีแรกในรอบ 114 ปี ตั้งแต่มีการใช้ไฟฟ้าในประเทศไทย ที่มีการใช้น้อยกว่าปีที่ผ่านมาและมีระบบผลิตไฟฟ้าภายใน 2 - 3 ปี ข้างหน้า จะมีกำลังผลิตสำรองเกินความต้องการกว่า 25 เปอร์เซนต์
นอกจากมาตรการการใช้พลังงานอย่างประหยัดเพื่อลดก๊าซเรือนกระจก การจัดหาพลังงานหมุนเวียนด้านต่าง ๆ เพื่อมาใช้ทดแทน ก็เป็นนโยบายที่สำคัญที่จะช่วยป้องกันและลดก๊าซรือนกระจก เนื่องจากการใช้พลังงานเชื้อเพลิง ประเภทฟอสซิล ได้แก่ถ่านหิน น้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดก๊าซเรือนกระจก
การจัดหาพลังงานหมุนเวียนทดแทนเพื่อลดก๊าซเรือนกระจก
การพัฒนาพลังน้ำ
พลังน้ำเป็นพลังงานหมุนเวียนที่สำคัญ และมีการนำมาใช้มากเมื่อเปรียบเทียบกับพลังงานหมุนเวียนอื่น ๆ ประเทศไทยมีโครงการหลายโครงการที่จะนำพลังงานน้ำจากประเทศเพื่อนบ้านมาใช้ประโยชน์ได้แก่
- โครงการไฟฟ้าพลังน้ำสตึงนัม เป็นโครงการร่วมไทย - กัมพูชา แม่น้ำสตึงนัม เป็นแม่น้ำในเขตประเทศกัมพูชาไหลจากเหนือลงใต้ ขนานและใกล้กับพรมแดนไทย - กัมพูชา บริเวณจังหวัดตราด มีพื้นที่ลุ่มอยู่ที่ปากแม่น้ำ ประมาณ 1,000 ตารางกิโลเมตร มีฝนตกชุกมากกว่า 4,000 มิลลิเมตรต่อปี เป็นพื้นที่ที่เหมาะกับการสร้างโรงงานไฟฟ้าพลังน้ำ โดยก่อสร้างเขื่อนบนแม่น้ำสตึงนัม และชักน้ำเข้าเขตโรงงานไฟฟ้าในประเทศไทย โครงการไฟฟ้าพลังน้ำสตึงนัม จะประกอบด้วยเขื่อน 3 เขื่อน และถ้าโครงการนี้สร้างสำเร็จ ก๊จะมีกำลังการผลิตไฟฟ้าประมาณ 439.3 เมกกะวัตต์ ผลิตไฟฟ้าได้รวมประมาณ 839 ล้านหน่วยต่อปี
- โครงการพัฒนาลุ่มแม่น้ำโขง เป็นโครงร่วมระหว่าง ไทย ลาว พม่า เวียดนาม มีจุดประสงค์เพื่อการพัฒนานำน้ำจากลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่างขึ้นมา เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในด้านเศรษฐกิจและสังคม แก่ประชาชนและประเทศสมาชิกของคณะกรรมการแม่น้ำโขง ซึ่งนอกจากจะนำมาใช้ประโยชน์ในการผลิตไฟฟ้าพลังน้ำแล้วประมาณกันว่า ถ้ามีการจัดสรรที่ดีแล้ว จะสามารถนำมาใช้พื้นที่ชลประทานได้กว่า 37 ล้านไร่
นอกจากนี้ยังมีโครงการแม่น้ำสาละวิน ซึ่งเป็นโครงการร่วมระหว่างไทย - พม่า อีกด้วย
การพัฒนาชีวมวลเพื่อผลิตกำลังและความร้อน
พลังงานชีวมวล เป็นพลังงานจากสารทุกรูปแบบที่ได้จากสิ่งมีชีวิต (ยกเว้นที่ได้กลายเป็นเชื่อเพลิงประเภท ฟอสซิล เช่น ถ่านหิน น้ำมัน และก๊าซธรรมชาติไปแล้ว) ทั้งนี้ รวมถึงการรวมผลิตจากการเกษตรและป่าไม้ ของเสียจากสัตว์ เช่น มูลสัตว์ และของเสียจากโรงงานแปรรูปทางการเกษตร ขยะ และน้ำเสียจากชุมชน สืบเนื่องมาจากปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล ทำให้เกิดการสะสมของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ที่จะนำไปสู่ภาวะเรือนกระจก ในขณะที่การใช้ชีวมวลเป็นพลังงานจะไม่เพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา มีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ที่สามารถใช้ผลิตพลังงานไฟฟ้าจากชีวมวลด้วยประสิทธิภาพที่สูงขึ้นมาก และมีการส่งเสริมให้มีการใช้พลังงานจากชีวมวลเพิ่มขึ้นโดยสัดส่วนของการใช้ชีวมวลในประเทศอุตสาหกรรมสามารถเห็นได้
จาก
1. การ
2. การ
3. การ
4. การ
5. การ
6. ปศุ
7. อุตสาหกรรม
8. กระบวน
สำหรับ
มาตร
ประเทศ
มาตร
พ.ร
มาตร
โดย
มาตร
แผน
1. แผน
2. แผน
3. แผน
มาตร
ความ
จาก
นอก
การ
การ
พลัง
- โครง
- โครง
นอก
การ
พลัง